Biochemistry

ผศ.ดร.ชัยบุตร อริยะเชษฐ

ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชา

ความเชี่ยวชาญ:

  • เซลล์ต้นกำเนิดและเวชศาสตร์ฟื้นฟู
  • การโปรแกรมชนิดเซลล์เพื่อใช้ในการรักษาทางการแพทย์
  • ชีววิทยาของอาร์เอ็นเอชนิดไม่ถอดรหัส
  • ชีววิทยาของโรคตับและทางเดินอาหาร
  • อวัยวะจำลองเพื่อการศึกษาโรคและการรักษาทางการแพทย์

Google Scholar

ชีวประวัติ

        ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยบุตร อริยะเชษฐ ได้รับทุนการศึกษาระดับปรัชญาดุษฎีบัณฑิต จากโรงเรียนแพทย์ฮาร์เวิร์ด (Harvard Medical School) ประเทศสหรัฐอเมริกา ในสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medical Sciences) และได้รับทุนโอลิมปิกวิชาการ จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ในการศึกษาระดับวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาชีววิทยา (Biology) และได้รับเกียรตินิยมอันดับหนึ่งเหรียญทอง (Summa Cum Laude) รวมทั้งได้รับทุนวิจัยจากสถาบันที่มีชื่อเสียง เช่น Asahi Glass Foundation, Howard Hughes Medical Institute (HHMI) และ American Society for Microbiology (ASM) งานวิจัยในระดับปริญญาเอกได้นำเสนอวิธีการรักษาโรคเบาหวานรูปแบบใหม่ ผลงานดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์และขึ้นปกในวารสาร Cell Stem Cell ซี่งเป็นวารสารอันดับหนึ่งในสาขาเซลล์ต้นกำเนิดและเวชศาสตร์ฟื้นฟู รวมทั้งได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีเด่น จากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี และศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านโรคตับอักเสบและมะเร็งตับ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำงานวิจัยศึกษาอาร์เอ็นเอชนิดไม่ถอดรหัสที่มีความสำคัญต่อการเกิดโรคมะเร็งเซลล์ตับและพังผืดในตับ รวมทั้งศึกษาโปรตีนกลุ่ม Transcription factors ที่ควบคุมการแสดงออกของยีน และได้ค้นพบหน้าที่การทำงานของยีน ZNF469 ในการที่ก่อให้เกิดโรคพังผืดในตับ

การศึกษา

  • วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง) สาขา ชีววิทยา (Biology) สถาบัน Bowdoin College ประเทศ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2553 
  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medical Sciences) สถาบัน Harvard Medical School ประเทศ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2559 
  • นักวิจัยหลังปริญญาเอก สาขาวิชา ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิด (Stem Cell Biology) สถาบัน Genome Institute of Singapore ประเทศ สิงคโปร์ พ.ศ. 2560

รางวัลที่เคยได้รับ

  • รางวัล Travel Grant งานประชุม The Liver Week ณ เมืองอินชอน ประเทศเกาหลี ในงานวิจัยเรื่อง “Long Non-coding RNA H19 Promotes Proliferation in Hepatocellular Carcinoma Cells via H19/miR-107/CDK6 Axis.” พ.ศ. 2566 
  • รางวัลทุนวิจัยมูลนิธิกระจกอาซาฮี (Asahi Glass Foundation) ในโครงการเรื่อง การพัฒนาอวัยวะจำลองสามมิติแบบจำเพาะบุคคลเพื่อการศึกษาและทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากสมุนไพรไทยพ.ศ. 2565 
  • รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีเด่น สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จากวิทยานิพนธ์เรื่อง การใช้เนื้อเยื่อกระเพาะอาหารเพื่อสร้างเซลล์ผลิตอินซูลิน สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน” (สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์) พ.ศ. 2564 
  • รางวัลวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ จากบริษัทเมอร์ค (Merck Young Scientist Award) จากการนำเสนอผลงานเรื่อง การสร้างเซลล์ผลิตอินซูลินในทางเดินอาหารพ.ศ. 2563 
  • ผู้แทนประเทศไทยเข้าร่วมการประชุมนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล สาขาสรีรวิทยาและการแพทย์ ณ เมืองลินเดา ประเทศเยอรมัน พ.ศ. 2561 
  • รางวัล Harvard Stem Cell Institute (HSCI) Sternlicht Award สำหรับนิสิตปริญญาเอกที่มีผลงานวิจัยยอดเยี่ยม พ.ศ. 2555 

ผลงานตีพิมพ์

  1. Ariyachet, C.*, Nokkeaw, A., Boonkaew, B., & Tangkijvanich P. (2024) ZNF469 is a profibrotic regulator of extracellular matrix in hepatic stellate cells. Journal of Cellular Biochemistry (In Press) (Q1, IF = 4.000).
  2. Nokkeaw, A., Thamjamrassri, P., Chantaravisoot, N., Tangkijvanich, P., & Ariyachet, C.* (2023). Long Non-coding RNA H19 Promotes Proliferation in Hepatocellular Carcinoma Cells via H19/miR-107/CDK6 Axis. Oncology Research 31(6), 989–1005. (Q1, IF = 4.938)
  3. Nokkeaw, A., Thamjamrassri, P., Tangkijvanich, P., & Ariyachet, C.* (2023). Regulatory Functions and Mechanisms of Circular RNAs in Hepatic Stellate Cell Activation and Liver Fibrosis. Cells, 12(3), 378. (Q1, IF = 7.666)
  4. Ariyachet, C.*, Chuaypen, N., Kaewsapsak, P., Chantaravisoot, N., Jindatip, D., Potikanond, S., & Tangkijvanich, P. (2022). MicroRNA-223 Suppresses Human Hepatic Stellate Cell Activation Partly via Regulating the Actin Cytoskeleton and Alleviates Fibrosis in Organoid Models of Liver Injury. International Journal of Molecular Sciences, 23(16), 9380. (Q1, IF = 6.208)
  5. Ariyachet, C., Tovaglieri, A., Xiang, G., Lu, J., Shah, M.S., Richmond, C.A., Verbeke, C., Melton, D.A., Stanger, B.Z., Mooney, D., Shivdasani, R.A., Mahony, S., Xia, Q., Breault, D.T., & Zhou, Q. (2016) Reprogrammed Stomach Tissue as a Renewable Source of Functional β Cells for Blood Glucose Regulation. Cell Stem Cell 18(3), 401-421. (Cover article, Previewed in Cell Stem Cell, 295-297, Highlighted in Nature, Science, Science Translational Medicine, and Nature Reviews Endocrinology) (Q1, IF = 25.269)
  6. Ariyachet, C., Beißel, C., Li, X., Lorrey, S., Mackenzie, O., Martin, P. M., OBrien, K., Pholcharee, T., Sim, S., Krebber, H. & McBride, A. E. (2017) Post-translational modification directs nuclear and hyphal tip localization of Candida albicans mRNA-binding protein Slr1. Molecular Microbiology, 104(3), 499–519. (Q1, IF = 3.804)
  7. Ariyachet, C., Solis, N.V., Liu, Y., Prasadarao, N.V., Filler, S.G., & McBride, A.E. (2013) SR-like RNA-binding protein Slr1 affects Candida albicans filamentation and virulence. Infection and Immunity 81(4), 1267-1276. (Q1, IF = 3.472)

หนังสือ

  • Nokkeaw, A., Thamjamrassri, P., Tangkijvanich, P., & Ariyachet, C*. (2023). The Roles of Actin Cytoskeleton in Hepatic Stellate Cell Activation and Liver Fibrosis. Advances in Biology, Volume 4, 121-134. (Book Chapter) 
วิดิทัศน์แนะนำศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านโรคตับอักเสบและมะเร็งตับ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Scroll to Top