Biochemistry

ศ.นพ.พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์

ตำแหน่ง: ศ. นพ. พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์

ความเชี่ยวชาญ:

  • วิทยาทางเดินอาหาร
  • วิทยาตับ

Google Scholar

ชีวประวัติ

        ศาสตราจารย์ นายแพทย์พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาโรคตับและทางเดินอาหาร เป็นหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านโรคตับอักเสบและมะเร็งตับ สังกัดภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์พิสิฐจบการศึกษาแพทยศาตรบัณฑิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2531 และเข้าศึกษาต่อทางด้านโรคระบบทางเดินอาหาร และเป็นแพทย์ต่อยอดการวิจัยด้านโรคตับ สาขาวิชาทางเดินอาหาร ณ UCLA School of Medicine ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ศาตราจารย์พิสิฐ ยังดำรงตำแหน่งนายกสมาคมโรคตับแห่งประเทศไทย โดยมีเชี่ยวชาญทางด้านโรคตับ ไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซี โรคตับแข็ง ตัวบ่งชี้การเกิดมะเร็งตับ โรคมะเร็งตับ และการตรวจวิเคราระห์จุลินทรีย์ในลำไส้ นอกจากนี้ยังมีผลงานทางวิชาการเชิงประจักษ์เป็นบทความตีพิมพ์ในวรสารทางวิชาการจำนวน 255 เรื่อง ที่มีการอ้างอิงกว่า 5,000 ครั้ง และมี h-index อยู่ที่ 37 การทำงานที่ทุ่มเทในสาขานี้ของศาสตราจารย์พิสิฐ ไม่เพียงแต่มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงเท่านั้น แต่ยังช่วยส่งเสริมปฏิบัติทางคลินิกและผลลัพธ์ของผู้ป่วยอีกด้วย ซึ่งยังคงสร้างแรงบันดาลใจและเป็นแนวทางให้แก่นักวิจัยและแพทย์รุ่นต่อๆ ไปในด้านโรคตับและทางเดินอาหารต่อไป

การศึกษา

              M.D., Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand                                               1982-1988

              Board of Internal Medicine, Thailand                                                                          1991-1994

              Board of Gastroenterology and Hepatology, Thailand                                         1994-1996

   Postgraduate Posts:

              General Physician, Bungkan Hospital, Nongkai Province                                       1988-1991

              Resident, Department of Medicine, Chulalongkorn University                             1991-1994

              Fellow, Gastroenterology Unit,                                                                                        1994-1996

                     Department of Medicine, Chulalongkorn University

              Research Fellow in Molecular Hepatology, Division of Digestive Disease,               1999-2001

                     UCLA School of Medicine, USA

   Academic Posts:

              Lecturer, Department of Biochemistry                                                               1997-1999

                     Faculty of Medicine, Chulalongkorn University

              Assistant Professor, Department of Biochemistry                                          1999-2005

                     Faculty of Medicine, Chulalongkorn University

              Associated Professor, Department of Biochemistry                                       2005-2010

                     Faculty of Medicine, Chulalongkorn University

              Professor, Department of Biochemistry                                                             2010-present

                     Faculty of Medicine, Chulalongkorn University

รางวัลที่เคยได้รับ

  • Outstanding Research Award, Chulalongkorn University (year 2003)
  • High-Impact Publication Award, Chulalongkorn University (year 2008)
  • Outstanding Researcher Award, Chulalongkorn University (year 2009)
  • Outstanding National Researcher Award, National Research Council of Thailand (NRCT) (year 2013)
  • Outstanding Research Unit (RU) Award, Chulalongkorn University (year 2017)
  • Dean’s Award for Outstanding Research-driven Department, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University (year 2022)

ผลงานตีพิมพ์

  1. Cost-utility analysis of atezolizumab combined with bevacizumab for unresectable hepatocellular carcinoma in Thailand (PLoS ONE, 2024, 19(3 March), e0300327)  
  2. Gut Microbiota in Patients with Non-Alcoholic Fatty Liver Disease without Type 2 Diabetes: Stratified by Body Mass Index (Int J Mol Sci. 2024 Feb 2;25(3):1807.) 
  3. ZNF469 is a profibrotic regulator of extracellular matrix in hepatic stellate cells (J Cell Biochem. 2024 May 5.) 
  4. Long-term benefit of DAAs on gut dysbiosis and microbial translocation in HCV-infected patients with and without HIV coinfection (Sci Rep. 2023 Sep 2;13(1):14413.) 
  5. First-in-human randomized study of RNAi therapeutic RG6346 for chronic hepatitis B virus infection (J Hepatol. 2023 Nov;79(5):1139-1149.) 
  6. Regional Differences in Clinical Presentation and Prognosis of Patients With Post-Sustained Virologic Response Hepatocellular Carcinoma (Clin Gastroenterol Hepatol. 2024 Jan;22(1):72-80.e4.) 
  7. Efficacy and safety of the siRNA JNJ-73763989 and the capsid assembly modulator JNJ-56136379 (bersacapavir) with nucleos(t)ide analogues for the treatment of chronic hepatitis B virus infection (REEF-1): a multicentre, double-blind, active-controlled, randomised, phase 2b trial (Lancet Gastroenterol Hepatol. 2023 Sep;8(9):790-802.) 
  8. Metabolic-Associated Fatty Liver Disease (MAFLD) is associated with immune activation, increased epicardial fat volume, and steatohepatitis among people with HIV in a Thai cohort HIV Med. 2023 Sep;24(9):1000-1012.) 
  9. An innovative wireless electrochemical card sensor for field-deployable diagnostics of Hepatitis B surface antigen (Sci Rep. 2023 Mar 2;13(1):3523.) 

หนังสือ

  • รศ.นพ.พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ (2553). ไวรัสตับอักเสบบีและมะเร็งตับ (พิมพ์ครั้งที่ 1).

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

Scroll to Top